ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ไม่ละทิ้งธรรม
บัณฑิตย่อมไม่ประพฤติกรรมชั่ว เพราะเหตุแห่งสุขตน สัตบุรุษอันทุกข์ถูกต้อง แม้พลาดพลั้งไป ก็ไม่ยอมละธรรม เพราะฉันทาคติและโทสาคติ
กรรมของการไม่เป็นภรรยาที่ดี
คนพาลทำบาปกรรมทั้งหลาย ก็ไม่รู้สึกตัว ผู้มีปัญญาทราม ย่อมเดือดร้อนเพราะกรรมของตนในภายหลัง ดุจถูกไฟไหม้
ครุกรรม (๑)
คนพาลกระทำกรรมอันลามกอยู่ ย่อมไม่รู้สึก บุคคลที่มีปัญญาทรามย่อมเดือดร้อน เพราะกรรมทั้งหลายอันเป็นของตน เหมือนบุคคลที่ถูกไฟไหม้แล้วฉะนั้น
คิดกลับใจก็สายเสียแล้ว
คนพาลมีปัญญาทราม กระทำกรรมชั่วอยู่ก็ไม่รู้สึก ย่อมเดือดร้อนเพราะกรรมของตน เหมือนถูกไฟไหม้ฉะนั้น
โลกาพินาศเพราะอำนาจกิเลส
คนพาลมีปัญญาทราม กระทำกรรมชั่วอยู่ ก็ไม่รู้สึกว่าได้ทำความชั่ว แต่เขาย่อมเดือดร้อนเพราะกรรมของตน เหมือนถูกไฟไหม้ ฉะนั้น
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ทรัพย์หมด แต่ไม่หมดศรัทธา)
บัณฑิตทั้งหลายย่อมไม่ประพฤติกรรมอันเป็นบาป เพราะเหตุแห่งความสุขของตน ถูกทุกข์กระทบแล้ว แม้จะพลาดพลั้งลงไป ก็สงบอยู่ได้ ไม่ละทิ้งธรรม เพราะความรัก และความชัง
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - รู้เท่าไม่ถึงการณ์ (๓)
พระราชารู้สึกกลัวในกาเมสุมิจฉาจารที่พระองค์กำลัง จะล่วงละเมิด ทรงเริ่มเกิดความสังเวชสลดพระทัย และอยากจะช่วยเปรตให้เสวยสุข จึงตรัสถามว่า "ทำอย่างไรท่านจึงจะได้เครื่องนุ่งห่ม ขอจงบอกเราเถิด หากเราช่วยท่านได้ เราก็ยินดี และเพื่อเป็นการพิสูจน์ว่า ผลแห่งกรรมดีสามารถอุทิศให้ได้"
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (1)
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นอยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บรรลุความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว นรชนเหล่านั้นย่อมไม่ไปสู่ทุคติ
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๓ )
เศรษฐีนี้เข้าไปตัดทานวงศ์ของเรา เมื่อละโลกจักต้องไปเกิดในนรกโดยไม่ต้องสงสัย เราจะต้องลงไปปราบความเห็นผิด และทำเขาให้เป็นผู้ดำรงวงศ์ทาน ซึ่งเป็นอริยประเพณีอันดีงามของเราให้สืบต่อยาวนานที่สุด
ความอดทน
ความอดทน มาจากคำว่า ขันติ หมายถึง การรักษาปกติภาวะของตนไว้ได้ ไม่ว่าจะถูกกระทบกระทั่งด้วยสิ่งอันเป็นที่พึงปรารถนาหรือไม่พึงปรารถนาก็ตาม มีความมั่นคงหนักแน่นไม่หวั่นไหว